จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์
และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
คณิตศาสตร์
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนจริง
จำนวนจริงนั้นเป็นอีกเรื่องที่สำคัญมากๆ
สำหรับน้องเพราะถือว่าเป็นหัวใจหลักของคณิตศาสตร์อีกเรื่องหนึ่ง
และเป็นพื้นฐานเพื่อนำไปใช้ต่อในเรื่องอื่นๆอีกมากมาย ส่วนใหญ่แล้วที่โรงเรียนจะสอนในช่วง
ม.4 แต่ก็ไม่ได้เป็นเรื่องที่ยากมากอะไรเกินควาสามารถที่จะเรียนรู้ได้ อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ
ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน
และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป
เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
ตัวอย่างที่ 1 เหตุ
1.สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ
แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง เนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน
และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต
เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
เราลองมาดูกันครับว่ายูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
เป็นอย่างไรพร้อมตัวอย่าง อ่านเพิ่มเติม
สับเซตและเพาเวอร์เซต
สับเซต
สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย” คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น
เอกภพสัมพันธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ
เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษา
สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ u
เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) ในการพูดถึงเรื่องใดก็ตามในแง่ของเซต
เรามักมีขอบข่ายในการพิจารณาสมาชิกของเซตที่จะกล่าวถึง
โดยมีข้อตกลงว่าเราจะไม่กล่าวถึงสิ่งใดนอกเหนือไปจากสมาชิก อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)